แผนที่วัฒนธรรมเพื่อเศรษฐกิจละแวกบ้าน

แผนที่จะแสดงให้เห็นได้ว่าร้านค้าละแวกบ้านของชุมชนหมู่สารนั้นเป็นทางบริเวณทิศ
ตะวันออกของถนนและเดินเข้าไปในชุมชนหัววัดหมื่นสาร
ในส่วนของละแวกบ้านนั้นเราจะจะเห็นได้ว่าในตอกซอยจะมีฉากเครื่องเงินสำคัญ
อยู่ในบริเวณถนนรอบรอบวัดหมื่นสาร นอกจากนี้
รัฐวิสาหกิจชุมชนได้พยายามสร้างเครือข่ายของสินค้าเครื่องเงินแต่ในระดับของค
วามร่วมมือของชุมชนนั้นยังขาดการสร้างนโยบายและการออกแบบร่วมกันทางทีม
วิจัยจึงขอเสนอเสนอถนนทางที่เป็นถนนเชื่อมต่อระหว่างความหมายของชุมชนนั้น
ประกอบไปด้วย

ชุดภาพต้นทุนทางวัฒนธรรมใหม่ของชุมชนหมื่นสาร

  • วัดสำคัญที่มีครูบาศักดิ์สิทธิ์สามองค์
  •  เรื่องเล่าเสือเย็นหรือเสือสมิง
  • ประวัติศาสตร์ทหารญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง

รูปปั้นวัวลาย

ดูใน Google Maps

ลานวัดหมื่นสาร

ดูใน Google Maps

บ่อน้ำใหญ่

ดูใน Google Maps

เจดีย์วัดหมื่นสาร ตำนานเสือเยน

ดูใน Google Maps

สถูปอัฐิครูบาศรีวิชัย

ดูใน Google Maps

สถูปอัฐิครูบาศรีวิชัย

ดูใน Google Maps

พิพิธภัณฑ์โบราณ อนุสรณ์สถานทหารญี่ปุ่น

ดูใน Google Maps

หอศิลป์สุทธจิตโต 

ดูใน Google Maps

ศาลาตีเครื่องเงิน

ดูใน Google Maps

บ้านป้าตุ๊ ตุงล้านนา

ดูใน Google Maps

สล่าเครื่องเงิน – แม่นง

ดูใน Google Maps

ร้านเครื่องเงิน – ลุงภาพ

ดูใน Google Maps

สล่าเครื่องเงิน – เน็ตศิลป์

ดูใน Google Maps

สล่าเครื่องเงิน – อ้ายพร

ดูใน Google Maps

สล่าเครื่องเงิน – อ้ายหนิท

ดูใน Google Maps

สล่าเครื่องเงิน – คุณเอก

ดูใน Google Maps

ศาลปู่ย่า

ดูใน Google Maps

บ้านทำเมี่ยงคำ

ดูใน Google Maps

ในแผนที่จะสะท้อนให้เห็นถึงถนนที่เป็นการสัญจรเพื่อเชื่อมโยงระหว่างสามผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียสำคัญอันได้แก่ วัดหมื่นสาร ชุมชนหมื่นสารและผู้ประกอบธุรกิจเครื่องเงินในย่านหมื่นสาร จากแผนที่จะเห็นได้ว่าการเดินเป็นการเชื่อมถึงที่ดีที่สุด บนถนนวัวลายซอย 1 ซอย 3 และ 4 ที่มีตำแหน่งของต้นทุนทางวัฒนธรรมมากมาย และสามารถเชื่อมต่อไปยังวัดนันทาราม ชุมชนเครื่องเขินได้ด้วย

ทีมออกแบบทำเว็บไซต์
ผศ.ดร.จิรันธนิน กิติกา | คมสัน ไชยวงค์ | เมธัส ภักดิ์ดี

ทีมข้อมูล
ผศ.ดร. สุพิชฌาย์ ปัญญา | ผศ.ดร. จิรันธนิน กิติกา | รศ.ดร. ปรานอม ตันสุขานันท์  | รศ.ดร. พลอยศรี โปราณานนท์

ติดต่อ supitcha.pu@cmu.ac.th

โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (Tech Transfer to Community) ภายใต้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570)